การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1 บทนำ
ความหมายของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเลี้ยงสัตว์น้ำ
หมายถึง การทำให้สัตว์น้ำมีการเจริญเติบโต เพิ่มขนาดน้ำหนักให้ได้ตามเป้าหมาย การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ หมายถึง การขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนสัตว์น้ำตามวัตถุประสงค์
ความสำคัญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1. เป็นอาหาร
2. เป็นสินค้า
3. เป็นสัตว์เลี้ยงช่วยกำจัดแมลงและวัชพืช
4 . ช่วยกำจัดของเสียและสิ่งปฏิกูล
5 . เป็นเกมกีฬา
6 . เป็นวัสดุตัวอย่างในการศึกษา
2. เป็นสินค้า
3. เป็นสัตว์เลี้ยงช่วยกำจัดแมลงและวัชพืช
4 . ช่วยกำจัดของเสียและสิ่งปฏิกูล
5 . เป็นเกมกีฬา
6 . เป็นวัสดุตัวอย่างในการศึกษา
นิยามของคำว่าสัตว์น้ำ
• สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ : ปลา กุ้ง หอย
• มีวงจรชีวิตอยู่ในน้ำ : กบ งู จระเข้ แมลง
• อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำทั่วถึง : เต่า ตะพาบน้ำ
• รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำ : ไข่เต่า ไข่ปลา
• สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม : พยูน ปลาวาฬ
• ซากหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของสัตว์น้ำ : หูฉลาม
• พันธุ์ไม้น้ำตามพระราชกฤษฎีกา ระบุชื่อ :
• สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำ : ปลา กุ้ง หอย
• มีวงจรชีวิตอยู่ในน้ำ : กบ งู จระเข้ แมลง
• อาศัยอยู่ในบริเวณน้ำทั่วถึง : เต่า ตะพาบน้ำ
• รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำ : ไข่เต่า ไข่ปลา
• สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม : พยูน ปลาวาฬ
• ซากหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของสัตว์น้ำ : หูฉลาม
• พันธุ์ไม้น้ำตามพระราชกฤษฎีกา ระบุชื่อ :
5.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
- AQUACULTURE
- FISH CULTURE
- FISH FARMING: AMERICAN CATFISH PRODUCERS
- MARICULTURE: MARINE OR SULTWATER ENVIRONMENT
- SEA FARMING
- SEA RANCHING
- PISCICULTURE: BRITISH TERM FOR FISH CULTURE
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
- AQUACULTURE
- FISH CULTURE
- FISH FARMING: AMERICAN CATFISH PRODUCERS
- MARICULTURE: MARINE OR SULTWATER ENVIRONMENT
- SEA FARMING
- SEA RANCHING
- PISCICULTURE: BRITISH TERM FOR FISH CULTURE
ประเภทของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สามารถจำแนกได้เป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะของแหล่งน้ำ คือ
1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด (Freshwater Aquaculture)
2. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (Coastal or Brackish Aquaculture)
สามารถจำแนกได้เป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะของแหล่งน้ำ คือ
1. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด (Freshwater Aquaculture)
2. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (Coastal or Brackish Aquaculture)
ประวัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
• การเลี้ยงปลาเริ่มที่อียิบต์ ประมาณ 4,000 ปี จากภาพแกะสลักแสดงการปล่อยปลานิล
• การเลี้ยงปลาไนเริ่มที่ประเทศจีน 4,600 ปี
• ประเทศไทยเลี้ยงปลาสลิดในบ่อ (ก่อนปี พ.ศ. 2460) และก่อนนั้นอาจเป็นปลากัด
• พ.ศ. 2465 นำปลาจีนมาเลี้ยงคลองเตย คลองไผ่สิงห์โต
• พ.ศ. 2494 กรมประมงส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปลาหมอเทศในบ่อ
• พ.ศ. 2509 ร.9 พระราชทานปลานิลให้กรมประมงเพื่อนำไปการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์
• การเลี้ยงปลาเริ่มที่อียิบต์ ประมาณ 4,000 ปี จากภาพแกะสลักแสดงการปล่อยปลานิล
• การเลี้ยงปลาไนเริ่มที่ประเทศจีน 4,600 ปี
• ประเทศไทยเลี้ยงปลาสลิดในบ่อ (ก่อนปี พ.ศ. 2460) และก่อนนั้นอาจเป็นปลากัด
• พ.ศ. 2465 นำปลาจีนมาเลี้ยงคลองเตย คลองไผ่สิงห์โต
• พ.ศ. 2494 กรมประมงส่งเสริมการเพาะเลี้ยงปลาหมอเทศในบ่อ
• พ.ศ. 2509 ร.9 พระราชทานปลานิลให้กรมประมงเพื่อนำไปการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์
วัตถุประสงค์ของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1. เพื่อเป็นอาหารของมนุษย์
2. เพื่อปรับปรุงพันธุ์ในธรรมชาติ
3. เพื่อการกีฬาและความบันเทิง
4. เพื่อเป็นปลาสวยงาม
5. เพื่อเป็นอาหารสัตว์
6. เพื่อการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร
1. เพื่อเป็นอาหารของมนุษย์
2. เพื่อปรับปรุงพันธุ์ในธรรมชาติ
3. เพื่อการกีฬาและความบันเทิง
4. เพื่อเป็นปลาสวยงาม
5. เพื่อเป็นอาหารสัตว์
6. เพื่อการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร
ลักษณะการเลี้ยงสัตว์น้ำ
สามารถจำแนกได้หลายแบบตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
สามารถจำแนกได้หลายแบบตามลักษณะต่างๆ ดังนี้
ก. จำแนกตามรูปแบบการเลี้ยง
• การเลี้ยงในบ่อ POND CULTURE
• การเลี้ยงในกระชัง CAGE AND PEN CULTURE
• การเลี้ยงในร่องน้ำ RACEWAY CULTURE
• การเลี้ยงแบบแพ RAFT CULTURE
• การเลี้ยงอย่างหนาแน่นในระบบปิด CLOSED HIGH-DENSITY CULTURE
• การทำฟาร์มในทะเล SEA RANCHING
• การเลี้ยงในบ่อ POND CULTURE
• การเลี้ยงในกระชัง CAGE AND PEN CULTURE
• การเลี้ยงในร่องน้ำ RACEWAY CULTURE
• การเลี้ยงแบบแพ RAFT CULTURE
• การเลี้ยงอย่างหนาแน่นในระบบปิด CLOSED HIGH-DENSITY CULTURE
• การทำฟาร์มในทะเล SEA RANCHING
ข. จำแนกตามลักษณะการได้มาของพันธุ์สัตว์น้ำ
• จากแหล่งน้ำธรรมชาติ
• จากแม่พันธุ์ที่มีไข่
• จากการเพาะพันธุ์ของมนุษย์
• จากแหล่งน้ำธรรมชาติ
• จากแม่พันธุ์ที่มีไข่
• จากการเพาะพันธุ์ของมนุษย์
ค. จำแนกตามระดับของการจัดการฟาร์ม
• แบบดั้งเดิม EXTENSIVE
• แบบกึ่งพัฒนา SEMI-INTENSIVE
• แบบพัฒนา INTENSIVE
• แบบดั้งเดิม EXTENSIVE
• แบบกึ่งพัฒนา SEMI-INTENSIVE
• แบบพัฒนา INTENSIVE
ง. จำแนกตามจำนวนชนิดที่เลี้ยง
• เลี้ยงชนิดเดียว MONOCULTURE CULTURE
• เลี้ยงหลายชนิดรวมกัน POLYCULTURE
• เลี้ยงชนิดเดียว MONOCULTURE CULTURE
• เลี้ยงหลายชนิดรวมกัน POLYCULTURE
จ. จำแนกตามความเค็มของน้ำ
• การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด FRESHWATER
• การเลี้ยงสัตว์น้ำกร่อย BRACKISH WATER
• การเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม MARINE WATER
• การเลี้ยงสัตว์น้ำจืด FRESHWATER
• การเลี้ยงสัตว์น้ำกร่อย BRACKISH WATER
• การเลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม MARINE WATER
ฉ. จำแนกตามลักษณะการไหลของน้ำ
• การเลี้ยงในน้ำไหล RUNNING WATER
• การเลี้ยงในน้ำนิ่ง STANDING WATER
• การเลี้ยงในน้ำไหล RUNNING WATER
• การเลี้ยงในน้ำนิ่ง STANDING WATER
ช. จำแนกตามอุณหภูมิของน้ำ
• การเลี้ยงในน้ำเย็น COLD WATER
• การเลี้ยงในน้ำอุ่น WARM WATER
• การเลี้ยงในน้ำเย็น COLD WATER
• การเลี้ยงในน้ำอุ่น WARM WATER
ซ. จำแนกตามลักษณะการกินอาหาร
• กินพืชเป็นอาหาร HARBIVOROUS SPECIES CULTURE
• กินสัตว์เป็นอาหาร CARNIVOROUS SPECIES CULTURE
• กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารOMNIVOROUS SPECIES CULTURE
• กินพืชเป็นอาหาร HARBIVOROUS SPECIES CULTURE
• กินสัตว์เป็นอาหาร CARNIVOROUS SPECIES CULTURE
• กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหารOMNIVOROUS SPECIES CULTURE
ฌ.
จำแนกตามลักษณะการเลี้ยงร่วมกับการทำเกษตรอื่นๆ
• การเลี้ยงปลาในนาข้าว RICE-FISH FARMING
• การเลี้ยงปลาร่วมกับเป็ดไก่ POULTRY-FISH FARMING
• การเลี้ยงปลาร่วมกับหมู PIG-FISH FARMING
• การเลี้ยงปลาในนาข้าว RICE-FISH FARMING
• การเลี้ยงปลาร่วมกับเป็ดไก่ POULTRY-FISH FARMING
• การเลี้ยงปลาร่วมกับหมู PIG-FISH FARMING
จุดอ่อนของผลผลิตสัตว์น้ำ
• เน่าเสียง่าย
• ยุ่งยากในการขนส่งและเก็บรักษา
• มีความยืดหยุ่นต่อรายได้และราคาต่ำกว่าสินค้าอุตสาหกรรม
• มูลค่าต่ำ
• เน่าเสียง่าย
• ยุ่งยากในการขนส่งและเก็บรักษา
• มีความยืดหยุ่นต่อรายได้และราคาต่ำกว่าสินค้าอุตสาหกรรม
• มูลค่าต่ำ
จุดอ่อนของการผลิต
• หน่วยการผลิตมีขนาดเล็ก
• ห่างไกลตลาด และหน่วยการผลิตกระจัดกระจาย
• ปริมาณการผลิตไม่แน่นอน
• มีเฉพาะฤดูกาล
• คุณภาพไม่คงที่
• ไม่สามารถควบคุมให้พอดีกับปริมาณความต้องการของตลาด
• หน่วยการผลิตมีขนาดเล็ก
• ห่างไกลตลาด และหน่วยการผลิตกระจัดกระจาย
• ปริมาณการผลิตไม่แน่นอน
• มีเฉพาะฤดูกาล
• คุณภาพไม่คงที่
• ไม่สามารถควบคุมให้พอดีกับปริมาณความต้องการของตลาด
ชนิดของสัตว์น้ำที่นิยมเลี้ยง
• ปลาไน • กุ้งก้ามกราม
• ปลาดุกด้าน • ตะพาบน้ำ
• ปลาสวาย • กบ
• ปลาจีน (ซ่ง เล่ง เฉา) • ปลากะพงขาว
• ปลาตะเพียนขาว • ปลากะรัง
• ปลายี่สกเทศ • หมึก
• ปลาทรงเครื่อง • ปูทะเล
• ปลาบึก • หอยแมลงภู่
• กุ้งกุลาดำ
• ปลาไน • กุ้งก้ามกราม
• ปลาดุกด้าน • ตะพาบน้ำ
• ปลาสวาย • กบ
• ปลาจีน (ซ่ง เล่ง เฉา) • ปลากะพงขาว
• ปลาตะเพียนขาว • ปลากะรัง
• ปลายี่สกเทศ • หมึก
• ปลาทรงเครื่อง • ปูทะเล
• ปลาบึก • หอยแมลงภู่
• กุ้งกุลาดำ
ระบบการผลิต คือ
• การมุ่งพัฒนาเกษตร โดย “ตลาด” ต่างประเทศ การอพยพแรงงานภาคเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรม
โครงสร้างการผลิตของเกษตรกรไทย
• เดิม การผลิตเพื่อยังชีพพออยู่พอกิน อาศัยสิ่งธรรมชาติมาเป็นปัจจัยใน การดำรงชีวิตความต้องการสินค้า และการบริการเพิ่มขึ้น
• ปัจจุบัน ผลิตเพื่อการจำหน่าย ภายในประเทศและผลิตเพื่อการส่งออก
• การมุ่งพัฒนาเกษตร โดย “ตลาด” ต่างประเทศ การอพยพแรงงานภาคเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรม
โครงสร้างการผลิตของเกษตรกรไทย
• เดิม การผลิตเพื่อยังชีพพออยู่พอกิน อาศัยสิ่งธรรมชาติมาเป็นปัจจัยใน การดำรงชีวิตความต้องการสินค้า และการบริการเพิ่มขึ้น
• ปัจจุบัน ผลิตเพื่อการจำหน่าย ภายในประเทศและผลิตเพื่อการส่งออก
รูปแบบการผลิต
1. การผลิตในพื้นที่ขนาดใหญ่ Plantation
2. การผลิตครบวงจรตามข้อตกลง ระหว่าง เกษตรกรกับบริษัท Contract Farming
3. ผลิตอุตสาหกรรมพื้นฐานเพื่อสนับสนุนเกษตรกรรม เช่น เครื่องจักรกล ยา อาหาร
4. การแบ่งจัดสรรงานการผลิตกับประเทศเพื่อนบ้าน
5. ระบบการศึกษาทางการเกษตรเพื่อธุรกิจเอกชน
1. การผลิตในพื้นที่ขนาดใหญ่ Plantation
2. การผลิตครบวงจรตามข้อตกลง ระหว่าง เกษตรกรกับบริษัท Contract Farming
3. ผลิตอุตสาหกรรมพื้นฐานเพื่อสนับสนุนเกษตรกรรม เช่น เครื่องจักรกล ยา อาหาร
4. การแบ่งจัดสรรงานการผลิตกับประเทศเพื่อนบ้าน
5. ระบบการศึกษาทางการเกษตรเพื่อธุรกิจเอกชน
การเกษตรยั่งยืน
1. Conservation Farming System เน้นการใช้และสงวนทรัพยากรการผลิตให้ยืดยาวโดยการอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินและน้ำ
2. Integrated Farming System การปฏิบัติที่มุ่งเอาความสามารถของทรัพยากรการผลิตและสิ่งแวดล้อมมาผสมผสาน เป็นระบบการผลิตที่ไม่สูญเปล่า
3. Intensive Farming System (ULTRA/SUPER)การมุ่งใช้แรงงานดูแลอย่างจริงจัง ไม่ได้ใช้ทรัพยากรอย่างสุรุ่ยสุร่าย เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ แทนการผลิตเพิ่มโดยการขยายพื้นที่
4. Low Input Farming System การมุ่งใช้ประโยชน์ของธรรมชาติแก้ปัญหา ใช้วัสดุการเกษตรน้อยที่สุดตามหลักการควบคุมธรรมชาติ หรือการใช้สารสกัดจากพืช เพื่อการเกษตรกรรมที่ลดการใช้สารเคมี
5. Alternative Agriculture Conservation Farming System เกษตรกรรมทางเลือก หมายถึง เกษตรกรรมที่ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร และไม่ทำลายระบบนิเวศน์
1. Conservation Farming System เน้นการใช้และสงวนทรัพยากรการผลิตให้ยืดยาวโดยการอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินและน้ำ
2. Integrated Farming System การปฏิบัติที่มุ่งเอาความสามารถของทรัพยากรการผลิตและสิ่งแวดล้อมมาผสมผสาน เป็นระบบการผลิตที่ไม่สูญเปล่า
3. Intensive Farming System (ULTRA/SUPER)การมุ่งใช้แรงงานดูแลอย่างจริงจัง ไม่ได้ใช้ทรัพยากรอย่างสุรุ่ยสุร่าย เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ แทนการผลิตเพิ่มโดยการขยายพื้นที่
4. Low Input Farming System การมุ่งใช้ประโยชน์ของธรรมชาติแก้ปัญหา ใช้วัสดุการเกษตรน้อยที่สุดตามหลักการควบคุมธรรมชาติ หรือการใช้สารสกัดจากพืช เพื่อการเกษตรกรรมที่ลดการใช้สารเคมี
5. Alternative Agriculture Conservation Farming System เกษตรกรรมทางเลือก หมายถึง เกษตรกรรมที่ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร และไม่ทำลายระบบนิเวศน์
ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำสิ่งที่ต้องพิจารณา คือ Y
= QxP - C
โดย Y = ผลจากการดำเนินธุรกิจ
Q = ปริมาณผลผลิต(หน่วย)
P = ราคาผลผลิต (บาท/หน่วย)
C = ต้นทุนการผลิต (บาท)
ผลการดำเนินธุรกิจผลกำไรที่เพิ่มขึ้น คือ
• การลดลงของต้นทุนการผลิต
• การเพิ่มขึ้นของราคา
• การเพิ่มขึ้นของผลผลิต
โดย Y = ผลจากการดำเนินธุรกิจ
Q = ปริมาณผลผลิต(หน่วย)
P = ราคาผลผลิต (บาท/หน่วย)
C = ต้นทุนการผลิต (บาท)
ผลการดำเนินธุรกิจผลกำไรที่เพิ่มขึ้น คือ
• การลดลงของต้นทุนการผลิต
• การเพิ่มขึ้นของราคา
• การเพิ่มขึ้นของผลผลิต
การเพิ่มขึ้นของผลผลิต (Q = Increase of
Production) คือ
• การเพิ่มอัตราการปล่อย Stocking Rate
• การเพิ่มอัตราการรอด Survival Rate
• การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต Growth Rate
• การเพิ่มอัตราการปล่อย Stocking Rate
• การเพิ่มอัตราการรอด Survival Rate
• การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต Growth Rate
ในส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการปล่อย
ประกอบด้วย
• ปุ๋ย และการให้อาหาร Fertilization & Feeding
• การเลี้ยงแบบผสมผสาน Polyculture
• ขนาดของพันธุ์ Stock manipulation
- Multiple size stocking
- Same size in a system
- Double cropping
• การให้อากาศ Areation
• ปุ๋ย และการให้อาหาร Fertilization & Feeding
• การเลี้ยงแบบผสมผสาน Polyculture
• ขนาดของพันธุ์ Stock manipulation
- Multiple size stocking
- Same size in a system
- Double cropping
• การให้อากาศ Areation
สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการรอด
ประกอบด้วย
• การจัดการบ่อที่ดี Good Pond Management
• การปล่อยในอัตราที่เหมาะสม Correct Stocking Rate
• การให้อาหารและปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสม Right, Kind and Amount of Feed /Fertilizer
• การจัดการคุณภาพน้ำอย่างเหมาะสม Proper water quality (Temperature / DO)
• การป้องกันโรค Prevent diseases & Paresites
• การกำจัดศัตรูสัตว์น้ำที่เลี้ยง Elination of Predator การลดต้นทุนต้องพิจารณาในสิ่งต่อไปนี้
• ค่าก่อสร้างCost of Construction
• ค่าอาหารและค่ายา Cost of Feed and Fertilizer
• ค่าพันธุ์สัตว์น้ำ Cost of Seed
• ค่าแรงงาน Cost of Labour
• ค่าน้ำ Cost of water
• ค่าดอกเบี้ย Interest
• ค่าทางการตลาด Marketing Cost
• ค่าเช่าที่ดิน Land Lease
• การจัดการบ่อที่ดี Good Pond Management
• การปล่อยในอัตราที่เหมาะสม Correct Stocking Rate
• การให้อาหารและปุ๋ยอย่างถูกต้องและเหมาะสม Right, Kind and Amount of Feed /Fertilizer
• การจัดการคุณภาพน้ำอย่างเหมาะสม Proper water quality (Temperature / DO)
• การป้องกันโรค Prevent diseases & Paresites
• การกำจัดศัตรูสัตว์น้ำที่เลี้ยง Elination of Predator การลดต้นทุนต้องพิจารณาในสิ่งต่อไปนี้
• ค่าก่อสร้างCost of Construction
• ค่าอาหารและค่ายา Cost of Feed and Fertilizer
• ค่าพันธุ์สัตว์น้ำ Cost of Seed
• ค่าแรงงาน Cost of Labour
• ค่าน้ำ Cost of water
• ค่าดอกเบี้ย Interest
• ค่าทางการตลาด Marketing Cost
• ค่าเช่าที่ดิน Land Lease
การเพิ่มราคาสัตว์น้ำต้องพิจารณาในสิ่งต่อไปนี้
• คุณภาพสัตว์น้ำ Quality of Fish
• ฤดูกาลและวัฒนธรรมทางสังคม Seasonality and Social Customs
• ความร่วมมือทางการตลาด Cooperatives Marketing
• ลักษณะของสินค้าและตลาด Different Markets and Products (Fish, Frozen, Salts, Smoked)
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และโครงสร้างการตลาด
• คุณภาพสัตว์น้ำ Quality of Fish
• ฤดูกาลและวัฒนธรรมทางสังคม Seasonality and Social Customs
• ความร่วมมือทางการตลาด Cooperatives Marketing
• ลักษณะของสินค้าและตลาด Different Markets and Products (Fish, Frozen, Salts, Smoked)
• ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ และโครงสร้างการตลาด
ประสิทธิภาพ Efficiency
ความมีประสิทธิภาพหรือสมรรถภาพ โดยสามารถทำงานนั้นๆให้สำเร็จได้โดยปราศจากการสิ้นเปลือง หรือสามารถสร้างผลสำเร็จออกมาโดยที่ได้ผลงานที่มีคุณค่าสูงกว่าทรัพยากรที่ใช้ หรือการวัดอัตราส่วนของรายได้ต่อค่าใช้จ่าย
ความมีประสิทธิภาพหรือสมรรถภาพ โดยสามารถทำงานนั้นๆให้สำเร็จได้โดยปราศจากการสิ้นเปลือง หรือสามารถสร้างผลสำเร็จออกมาโดยที่ได้ผลงานที่มีคุณค่าสูงกว่าทรัพยากรที่ใช้ หรือการวัดอัตราส่วนของรายได้ต่อค่าใช้จ่าย
ประสิทธิผล Effectiveness
คือ การทำงานที่ได้ผลโดยสามารถทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการได ้หรือการวัดกิจการ ที่สามารถทำงานสำเร็จผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่ไม่สนใจเปรียบเทียบว่าทรัพยากรที่ใช้ไปมากน้อยเพียงใด
คือ การทำงานที่ได้ผลโดยสามารถทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการได ้หรือการวัดกิจการ ที่สามารถทำงานสำเร็จผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่ไม่สนใจเปรียบเทียบว่าทรัพยากรที่ใช้ไปมากน้อยเพียงใด
การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ
การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ โดยมีบุคคลเข้ามาทำหน้าที่ประสานเพื่อให้เกิดผลสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และเกิดประสิทธิภาพภายใต้สถานการณ์เสี่ยงและความไม่แน่นอน
การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรของธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ โดยมีบุคคลเข้ามาทำหน้าที่ประสานเพื่อให้เกิดผลสำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และเกิดประสิทธิภาพภายใต้สถานการณ์เสี่ยงและความไม่แน่นอน
ธุรกิจฟาร์ม
หมายถึง หน่วยธุรกิจที่ประกอบกิจการการผลิตพืชและสัตว์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลพลอยได้จากพืชและสัตว์ ภายในกระบวนการผลิตและการจำหน่ายผลิตผลจากฟาร์มต้องมีการจัดการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด
หมายถึง หน่วยธุรกิจที่ประกอบกิจการการผลิตพืชและสัตว์ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลพลอยได้จากพืชและสัตว์ ภายในกระบวนการผลิตและการจำหน่ายผลิตผลจากฟาร์มต้องมีการจัดการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด
ธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ
คือ หน่วยธุรกิจการผลิต และจำหน่ายสัตว์น้ำ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการผลิตสัตว์น้ำ การจัดการภายในกระบวนการการผลิตตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ความสำคัญของหน่วยธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ คือ
• ครอบครองและใช้ปัจจัยการผลิตมากกว่าหน่วยธุรกิจอื่น
• แหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของมนุษย์
• นำไปสู่เงินตราเข้าประเทศ
• มีการใช้แรงงานมาก ลดปัญหาการว่างงาน
• เป็นอาชีพให้กับคนในประเทศ
คือ หน่วยธุรกิจการผลิต และจำหน่ายสัตว์น้ำ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการผลิตสัตว์น้ำ การจัดการภายในกระบวนการการผลิตตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ความสำคัญของหน่วยธุรกิจฟาร์มสัตว์น้ำ คือ
• ครอบครองและใช้ปัจจัยการผลิตมากกว่าหน่วยธุรกิจอื่น
• แหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของมนุษย์
• นำไปสู่เงินตราเข้าประเทศ
• มีการใช้แรงงานมาก ลดปัญหาการว่างงาน
• เป็นอาชีพให้กับคนในประเทศ
องค์กรจะทำหน้าที่ผลิตสินค้า บริการมุ่งสร้าง
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ที่ได้รับจะเป็น กำไร ชื่อเสียง ทักษะความชำนาญ นอกจากนี้องค์การต้องมีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถาพแวดล้อมในที่นี้ คือ ปัจจัยภายนอกหรือสิ่งที่อยู่นอกเหนือ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม และด้านการเมือง
ระบบการบริหาร หรือระบบการจัดการ คือ
ระบบการทำงานของผู้บริหาร/ผู้จัดการ ในการบริหาร/จัดการระบบต่างๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด องค์การกับสภาพแวดล้อมภายในองค์การ มี 3 ระบบ คือ ระบบโอกาสระบบงาน และระบบคน
ระบบโอกาส คือ
ระบบการทำงานของผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์การที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณา กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ เป้าหมาย แผนงาน ระบบโอกาสจะคาบเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอก และองค์การ เรียกว่า การจัดการโอกาส หรือการบริหารโอกาส Opportunity Management
ระบบการทำงานของผู้บริหาร/ผู้จัดการ ในการบริหาร/จัดการระบบต่างๆ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด องค์การกับสภาพแวดล้อมภายในองค์การ มี 3 ระบบ คือ ระบบโอกาสระบบงาน และระบบคน
ระบบโอกาส คือ
ระบบการทำงานของผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์การที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณา กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ เป้าหมาย แผนงาน ระบบโอกาสจะคาบเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอก และองค์การ เรียกว่า การจัดการโอกาส หรือการบริหารโอกาส Opportunity Management
ระบบงาน คือ
ระบบของทรัพยากรต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้ภายในองค์การ เพื่อสำหรับการปฏิบัติงานตามแผนงานต่างๆที่ได้กำหนดไว้ ปัจจัยต่างๆเหล่านี้ได้แก่ เงินทุน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ วัตถุดิบ โดยมีต้นทุนที่ต้องจ่ายในการบริหาร เรียกว่า การบริหารงาน หรือการบริหารระบบงาน หรือการจัดการระบบงาน Task of Work System Management ดังนั้นการจัดระบบงานหมายถึง โครงสร้างองค์การ และวิธีทำงานเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
และได้ผลสูง
ระบบของทรัพยากรต่างๆ ที่จัดเตรียมไว้ภายในองค์การ เพื่อสำหรับการปฏิบัติงานตามแผนงานต่างๆที่ได้กำหนดไว้ ปัจจัยต่างๆเหล่านี้ได้แก่ เงินทุน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ วัตถุดิบ โดยมีต้นทุนที่ต้องจ่ายในการบริหาร เรียกว่า การบริหารงาน หรือการบริหารระบบงาน หรือการจัดการระบบงาน Task of Work System Management ดังนั้นการจัดระบบงานหมายถึง โครงสร้างองค์การ และวิธีทำงานเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
และได้ผลสูง
ระบบคน คือ
คนเป็นทรัพยากรที่มีชีวิต จิตใจ มีทักษะ ความชำนาญ และความสามารถที่จะปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่กำหนดได้ ซึ่งเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ การทำงานขึ้นกับพฤติกรรม ความพึงพอใจ อาจผันแปรตลอดเวลา ทั้งลักษณะการใช้เหตุผล อารมณ์ เรียกว่า การบริหารคน หรือการจัดการคน People Management เป็นเรื่องของการจูงใจ หรือศิลปการบังคับบัญชา
คนเป็นทรัพยากรที่มีชีวิต จิตใจ มีทักษะ ความชำนาญ และความสามารถที่จะปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่กำหนดได้ ซึ่งเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ การทำงานขึ้นกับพฤติกรรม ความพึงพอใจ อาจผันแปรตลอดเวลา ทั้งลักษณะการใช้เหตุผล อารมณ์ เรียกว่า การบริหารคน หรือการจัดการคน People Management เป็นเรื่องของการจูงใจ หรือศิลปการบังคับบัญชา
ขั้นตอนการจัดการ
1. ความคิด
2. สิ่งเรื่องราวต่างๆ ที่ต้องกระทำ
3. คน
1. ความคิด
2. สิ่งเรื่องราวต่างๆ ที่ต้องกระทำ
3. คน
ความคิด
• การบริหารโอกาส จำเป็นต้องใช้ความคิด และต้องมีความคิดเป็นเลิศ
• กระบวนการในการจัดการ คือ การวางแผน Planning
• การบริหารโอกาส จำเป็นต้องใช้ความคิด และต้องมีความคิดเป็นเลิศ
• กระบวนการในการจัดการ คือ การวางแผน Planning
สิ่งเรื่องราวต่างๆที่ต้องกระทำ
การจัดระบบงาน โดยนักบริหาร หรือนักจัดการต้องรู้จักแบ่งสันและจัดระเบียบ การใช้ให้ตรงกับความจำเป็น และความต้องการอยู่ตลอดเวลา
• กระบวนการในการจัดการ คือ
• การจัดองค์กร Organization
การจัดระบบงาน โดยนักบริหาร หรือนักจัดการต้องรู้จักแบ่งสันและจัดระเบียบ การใช้ให้ตรงกับความจำเป็น และความต้องการอยู่ตลอดเวลา
• กระบวนการในการจัดการ คือ
• การจัดองค์กร Organization
การจัดการคน หรือ การบริหารคน
เป็นกระบวนการในการทำงาน
อันเป็นผลจากการเกี่ยวข้องและความเข้าใจของผู้ทำงานทุกฝ่าย ได้แก่ หัวหน้า หรือ
ผู้นำ ผู้ร่วมงาน และผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ “คน” ที่มีชีวิต
มีจิตใจ มีความรู้สึก และต้องการการชักจูง โน้มน้าว และเสริมสร้าง ให้เกิดพลังร่วม
กระบวนการในการจัดการคน ประกอบด้วย การคัดเลือกคน หรือการจัดวางตัวบุคคล หรือการจัดคนเข้าทำงาน Staffing การมีศิลปะการสั่งการ หรือมีการสั่งการ Directing
และการควบคุม คือ วิธีการควบคุมให้ปฏิบัติงานด้วย ความทุ่มเท ตั้งใจ ที่จะให้ได้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพที่ดี Controlling
5.3 การเลี้ยงสัตว์น้ำ
กระบวนการในการจัดการคน ประกอบด้วย การคัดเลือกคน หรือการจัดวางตัวบุคคล หรือการจัดคนเข้าทำงาน Staffing การมีศิลปะการสั่งการ หรือมีการสั่งการ Directing
และการควบคุม คือ วิธีการควบคุมให้ปฏิบัติงานด้วย ความทุ่มเท ตั้งใจ ที่จะให้ได้ผลผลิตสูง และมีคุณภาพที่ดี Controlling
5.3 การเลี้ยงสัตว์น้ำ
ในการเลี้ยงสัตว์น้ำโดยทั่วไปแล้ว จะประกอบด้วย 7
ขั้นตอนหลัก
คือ การเลือกสถานที่ การสร้างบ่อเลี้ยง การเตรียมบ่อเลี้ยง
การเตรียมและปล่อยพันธุ์ อาหารและการให้อาหาร การจัดการคุณภาพน้ำ และโรคสัตว์น้ำ
และการเก็บเกี่ยวผลผลิต
การเลือกสถานที่
• พื้นที่ใกล้แหล่งน้ำหรือมีน้ำใช้ตลอดฤดูกาล
• พื้นที่ปลอดภัยจากน้ำท่วม
• พื้นที่สามารถสร้างที่กักขังสัตว์น้ำได้
• สภาพภูมิประเทศ
• การคมนาคม
• พื้นที่ใกล้แหล่งน้ำหรือมีน้ำใช้ตลอดฤดูกาล
• พื้นที่ปลอดภัยจากน้ำท่วม
• พื้นที่สามารถสร้างที่กักขังสัตว์น้ำได้
• สภาพภูมิประเทศ
• การคมนาคม
การสร้างบ่อ
ประเภทของบ่อที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเลี้ยงสัตว์น้ำโดยส่วนใหญ่ ประกอบด้วย
• บ่อเพาะพันธุ์ (Breeding pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับเป็นที่วางไข่ ผสมพันธุ์ของพ่อแม่สัตว์น้ำ ลักษณะรูปแบบ ขนาด ความลึก ระบบน้ำ จะแตกต่างตามชนิด ขนาด และจำนวนพ่อแม่พันธุ์
• บ่อฟักไข่ (Hatching pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับให้ไข่ปลาปฏิสนธิแล้ว (Fertilized egg) เจริญพัฒนาการเป็นลูกปลาวัยอ่อน (Larvae) ลักษณะรูปแบบ ขนาด ความลึก ระบบน้ำ จะแตกต่างตามประเภทและปริมาณของไข่สัตว์น้ำที่ต้องการฟัก
• บ่ออนุบาล (Nursing pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน (Post larvae) ให้เจริญเติบโตถึงขนาดปล่อยลงเลี้ยง Fingering
• บ่อเลี้ยง (Rearing pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำให้เติบโตถึงขนาดตลาดต้องการ (Market size)
• บ่อเก็บกัก (stocking pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับกักขังสัตว์น้ำที่เติบโตได้ขนาดตามตลาดต้องการ เตรียมไว้สำหรับการจำหน่าย
• บ่อตะกอน (sedimentation pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับพักน้ำไว้ก่อนนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ในฟาร์ม เพื่อให้น้ำมีการตกตะกอน ปรับสภาพให้เหมาะสม ขนาดของบ่อ: ขึ้นกับขนาดและอายุของปลา บ่อขนาดใหญ่ อาจมีขนาด 3-5 ไร่ (อาจจะใหญ่กว่า 5 ไร่) ความลึก 2-3 เมตร บ่อปลานิ้ว ขนาด 1-3 ไร่ ความลึก 2 เมตร บ่อปลาตุ้ม ขนาด 0.5-1 ไร่ ความลึก 1.5 เมตร
รูปแบบบ่อ: นิยมกำหนดขนาดเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง:ยาว = 2:1, 3:2, 5:3 บ่อควรวางด้านยาวไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก เพื่อรับแสงแดดในช่วงกลางวัน เกิดอาหารธรรมชาติ และเกิดก๊าซออกซิเจน
ความลึกของบ่อ: บ่อโดยทั่วไป ระดับการเก็บกัก 1.5-2.0 เมตร สำหรับบ่ออนุบาล 0.8-1.20 เมตร ความลึกของบ่อมีผลต่อการดูแลรักษา และขึ้นกับประสิทธิภาพในการเก็บกัก
ลักษณะพื้นก้นบ่อ: พื้นก้นบ่อควรลาดเอียง เพื่อระบายน้ำและใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำ (0.5-1 %) และควรจัดสร้างแอ่งที่ลึกกว่าก้นบ่อเดิม 30-50 ซม. และใกล้กับท่อน้ำเข้าหรือระบบให้อากาศ
ท่อทางระบายน้ำ: ปากท่อต่ำกว่าพื้นก้นบ่อ 20-30 ซม. การกำหนดที่ตั้งของท่อควรคำนึงกระแสน้ำในบ่อคันดิน: กรณีเป็นบ่อดินเหนียว 1:1 ดินปนทราย เชิงลาดล่าง ลาดเอียง 1:2.5 - 1:3.0 เชิงลาดบน ลาดเอียง 1:1 – 1:1.5
ประเภทของบ่อที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเลี้ยงสัตว์น้ำโดยส่วนใหญ่ ประกอบด้วย
• บ่อเพาะพันธุ์ (Breeding pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับเป็นที่วางไข่ ผสมพันธุ์ของพ่อแม่สัตว์น้ำ ลักษณะรูปแบบ ขนาด ความลึก ระบบน้ำ จะแตกต่างตามชนิด ขนาด และจำนวนพ่อแม่พันธุ์
• บ่อฟักไข่ (Hatching pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับให้ไข่ปลาปฏิสนธิแล้ว (Fertilized egg) เจริญพัฒนาการเป็นลูกปลาวัยอ่อน (Larvae) ลักษณะรูปแบบ ขนาด ความลึก ระบบน้ำ จะแตกต่างตามประเภทและปริมาณของไข่สัตว์น้ำที่ต้องการฟัก
• บ่ออนุบาล (Nursing pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน (Post larvae) ให้เจริญเติบโตถึงขนาดปล่อยลงเลี้ยง Fingering
• บ่อเลี้ยง (Rearing pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับเลี้ยงสัตว์น้ำให้เติบโตถึงขนาดตลาดต้องการ (Market size)
• บ่อเก็บกัก (stocking pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับกักขังสัตว์น้ำที่เติบโตได้ขนาดตามตลาดต้องการ เตรียมไว้สำหรับการจำหน่าย
• บ่อตะกอน (sedimentation pond) เป็นบ่อที่ใช้สำหรับพักน้ำไว้ก่อนนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ในฟาร์ม เพื่อให้น้ำมีการตกตะกอน ปรับสภาพให้เหมาะสม ขนาดของบ่อ: ขึ้นกับขนาดและอายุของปลา บ่อขนาดใหญ่ อาจมีขนาด 3-5 ไร่ (อาจจะใหญ่กว่า 5 ไร่) ความลึก 2-3 เมตร บ่อปลานิ้ว ขนาด 1-3 ไร่ ความลึก 2 เมตร บ่อปลาตุ้ม ขนาด 0.5-1 ไร่ ความลึก 1.5 เมตร
รูปแบบบ่อ: นิยมกำหนดขนาดเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง:ยาว = 2:1, 3:2, 5:3 บ่อควรวางด้านยาวไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก เพื่อรับแสงแดดในช่วงกลางวัน เกิดอาหารธรรมชาติ และเกิดก๊าซออกซิเจน
ความลึกของบ่อ: บ่อโดยทั่วไป ระดับการเก็บกัก 1.5-2.0 เมตร สำหรับบ่ออนุบาล 0.8-1.20 เมตร ความลึกของบ่อมีผลต่อการดูแลรักษา และขึ้นกับประสิทธิภาพในการเก็บกัก
ลักษณะพื้นก้นบ่อ: พื้นก้นบ่อควรลาดเอียง เพื่อระบายน้ำและใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำ (0.5-1 %) และควรจัดสร้างแอ่งที่ลึกกว่าก้นบ่อเดิม 30-50 ซม. และใกล้กับท่อน้ำเข้าหรือระบบให้อากาศ
ท่อทางระบายน้ำ: ปากท่อต่ำกว่าพื้นก้นบ่อ 20-30 ซม. การกำหนดที่ตั้งของท่อควรคำนึงกระแสน้ำในบ่อคันดิน: กรณีเป็นบ่อดินเหนียว 1:1 ดินปนทราย เชิงลาดล่าง ลาดเอียง 1:2.5 - 1:3.0 เชิงลาดบน ลาดเอียง 1:1 – 1:1.5
การเตรียมบ่อเลี้ยง
การเตรียมบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก คือ การใส่ปูนขาว และการใส่ปุ๋ย หากเป็นกรณีบ่อเก่าควรมีการกำจัดศัตรูปลา ลอกเลน และตากบ่อให้แห้ง
การเตรียมบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก คือ การใส่ปูนขาว และการใส่ปุ๋ย หากเป็นกรณีบ่อเก่าควรมีการกำจัดศัตรูปลา ลอกเลน และตากบ่อให้แห้ง
การใส่ปูนขาว
ปูนขาวมีประโยชน์ในด้านต่างๆ คือ ทำลายสิ่งที่มีพิษต่อปลา เช่น พยาธิ โปรโตซัว ปรับความเป็นกรดของดินและน้ำ ให้เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของความเป็นกรดด่าง เพิ่มปริมาณแพลงค์ตอนพืชและสัตว์ ช่วยให้ตะกอนแขวนลอยตกตะกอน แสงผ่านง่าย เกิดการสังเคราะห์แสง ออกซิเจนเพิ่ม ช่วยให้สารประกอบแอมโมเนียสลายตัวกลายเป็นไนไตรท์และไนเตรท ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อปลา วิธีการใส่ปูนขาว มีดังนี้
1) ใส่เมื่อบ่อแห้ง หว่าน โรย ขณะตากบ่อ (นิยม)
2) โปรยจากเรือ ขณะบ่อมีน้ำ
3) ปล่อยปูนขาวจากทางน้ำไหลเข้าบ่อ
ปริมาณการใช้ปูนขาวขึ้นกับคุณภาพดินและคุณภาพน้ำของบ่อ กรณีโรคปลา ใช้ปรับคุณภาพน้ำ ใช้ปูนขาวในอัตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่ กรณีบ่อเก่าหลังจับปลาแล้วไม่ระบายน้ำออก อัตราใช้ปูนขาว คือ 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ และกรณีใส่ขณะมีปลา ใช้ปูนขาวละลายน้ำสาดให้ทั่วบ่อ
ปูนขาวมีประโยชน์ในด้านต่างๆ คือ ทำลายสิ่งที่มีพิษต่อปลา เช่น พยาธิ โปรโตซัว ปรับความเป็นกรดของดินและน้ำ ให้เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของความเป็นกรดด่าง เพิ่มปริมาณแพลงค์ตอนพืชและสัตว์ ช่วยให้ตะกอนแขวนลอยตกตะกอน แสงผ่านง่าย เกิดการสังเคราะห์แสง ออกซิเจนเพิ่ม ช่วยให้สารประกอบแอมโมเนียสลายตัวกลายเป็นไนไตรท์และไนเตรท ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อปลา วิธีการใส่ปูนขาว มีดังนี้
1) ใส่เมื่อบ่อแห้ง หว่าน โรย ขณะตากบ่อ (นิยม)
2) โปรยจากเรือ ขณะบ่อมีน้ำ
3) ปล่อยปูนขาวจากทางน้ำไหลเข้าบ่อ
ปริมาณการใช้ปูนขาวขึ้นกับคุณภาพดินและคุณภาพน้ำของบ่อ กรณีโรคปลา ใช้ปรับคุณภาพน้ำ ใช้ปูนขาวในอัตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่ กรณีบ่อเก่าหลังจับปลาแล้วไม่ระบายน้ำออก อัตราใช้ปูนขาว คือ 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ และกรณีใส่ขณะมีปลา ใช้ปูนขาวละลายน้ำสาดให้ทั่วบ่อ
การใส่ปุ๋ย
การใส่ปุ๋ยเป็นหลักการ เพื่อให้บ่อเลี้ยงเกิดอาหารธรรมชาติในกลุ่มของแพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton) และแพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) ปุ๋ยที่นิยมใช้ คือ ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก และปุ๋ยอนินทรีย์หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ (ปุ๋ยที่ได้จากการสังเคราะห์) อัตราการใช้ปุ๋ยต่างๆ เป็นดังนี้
1) ปุ๋ยคอก : ไม่เกิน 300-450 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
2) ปุ๋ยพืชสด : ไม่เกิน 1,200-1,500 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
3) ปุ๋ยหมัก : ไม่เกิน 600-700 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
4) ปุ๋ยเคมี : ปุ๋ยยูเรีย 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ต่อสัปดาห์ หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต 2.5กิโลกรัมต่อไร่ต่อสัปดาห์
การใส่ปุ๋ยเป็นหลักการ เพื่อให้บ่อเลี้ยงเกิดอาหารธรรมชาติในกลุ่มของแพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton) และแพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) ปุ๋ยที่นิยมใช้ คือ ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมัก และปุ๋ยอนินทรีย์หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ (ปุ๋ยที่ได้จากการสังเคราะห์) อัตราการใช้ปุ๋ยต่างๆ เป็นดังนี้
1) ปุ๋ยคอก : ไม่เกิน 300-450 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
2) ปุ๋ยพืชสด : ไม่เกิน 1,200-1,500 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
3) ปุ๋ยหมัก : ไม่เกิน 600-700 กิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน
4) ปุ๋ยเคมี : ปุ๋ยยูเรีย 4.5 กิโลกรัมต่อไร่ต่อสัปดาห์ หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต 2.5กิโลกรัมต่อไร่ต่อสัปดาห์
การเตรียมพันธุ์ปลา
สิ่งที่ต้องพิจารณา ประกอบด้วย
• ชนิดและอัตราการปล่อย
• เลือกชนิดและลักษณะการกินอาหาร
• ลักษณะและวิธีการแพร่พันธุ์ของปลา
• การปล่อยปลาในอัตราที่เหมาะสม
• การเลี้ยงปลาหลายชนิดในบ่อ (กินอาหารต่างกัน อาศัยที่อยู่ต่างกัน)
สิ่งที่ต้องพิจารณา ประกอบด้วย
• ชนิดและอัตราการปล่อย
• เลือกชนิดและลักษณะการกินอาหาร
• ลักษณะและวิธีการแพร่พันธุ์ของปลา
• การปล่อยปลาในอัตราที่เหมาะสม
• การเลี้ยงปลาหลายชนิดในบ่อ (กินอาหารต่างกัน อาศัยที่อยู่ต่างกัน)
อาหารและการให้อาหาร
ประเภทของอาหารสัตว์น้ำ คือ อาหารธรรมชาติ และอาหารสมทบ ตัวอย่างของอาหารสมทบ ได้แก่ โรติเฟอร์ ไรแดง ไข่ไก่ อาหารสำเร็จรูป เป็นต้น สำหรับอาหารสำเร็จรูปอาจมีลักษณะ ดังนี้
1. อาหารเม็ด
1.1 อาหารเม็ดลอยน้ำ
1.2 อาหารเม็ดจมน้ำ
2. อาหารเม็ดฉีก
3. อาหารผง
4. อาหารแผ่น
5. อาหารผสมบด
ประเภทของอาหารสัตว์น้ำ คือ อาหารธรรมชาติ และอาหารสมทบ ตัวอย่างของอาหารสมทบ ได้แก่ โรติเฟอร์ ไรแดง ไข่ไก่ อาหารสำเร็จรูป เป็นต้น สำหรับอาหารสำเร็จรูปอาจมีลักษณะ ดังนี้
1. อาหารเม็ด
1.1 อาหารเม็ดลอยน้ำ
1.2 อาหารเม็ดจมน้ำ
2. อาหารเม็ดฉีก
3. อาหารผง
4. อาหารแผ่น
5. อาหารผสมบด
การจัดการคุณภาพน้ำ
ด้านกายภาพ
1) อุณหภูมิ (Temperature) 25-32 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในตัวปลาต่ำกว่าอุณหภูมิน้ำ 0.5-1 องศาเซลเซียส การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต้องมีการเปลี่ยนแปลงช้าๆ เพราะปลาเป็นสัตว์เลือดเย็น ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิให้คงที่เหมือนสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิมีผลต่อปัจจัยสำคัญของสิ่งมีชีวิต การที่อุณหภูมิสูงอาจทำให้สารพิษ เช่น สารกำจัดศัตรูพืช โลหะหนัก ทวีความรุนแรง และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำลดลง
2) ความขุ่น (Turbidity) น้ำมีสารแขวนลอย ได้แก่ อนุภาคดินทราย แพลงค์ตอน แบคทีเรีย แร่ธาตุ ซึ่งมีผลต่อปริมาณแสงส่องลงไปในน้ำ หน่วยวัดความขุ่น คือ FTU (Formazin turbidity unit) หรือ JTU (Jackson turbidity unit) ค่าความขุ่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาไม่ควรเกิน 50 FTU การวัดความขุ่นใสอาจใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Secchi disc (แผ่นไม้รูปวงกลมเส้นผ่า ศก. 20 ซม. ทาสีขาวสลับดำ ความขุ่นที่เหมาะสม 30-60 ซม.) ความขุ่นของน้ำสามารถควบคุมได้ดังนี้
- กรณีน้ำขุ่นจากตะกอนดิน แก้ไขโดยเติมปุ๋ยอินทรีย์และอนินทรีย์ หรือใช้สารส้ม (Alum) หรืออลูมินั่มซัลเฟต ปริมาณ 25-30 mg/l
- กรณีความขุ่นที่เกิดจากแพลงก์ตอน ใช้การระบายน้ำออกหรือใช้คอปเปอร์ซัลเฟต 0.1-0.5 mg/l
- ถ้าน้ำมีความขุ่นใสมาก แสดงว่าแพลงค์ตอนมีน้อย ต้องเติมปุ๋ยและปูนขาวลงไปในน้ำ หรือเติมน้ำเขียว (Chlorella)
3) การนำไฟฟ้า (Conductivity) ความสามารถของน้ำในการเป็นสื่อนำกระแสไฟฟ้า ขึ้นกับ ความเข้มข้นของอิออนของสารประกอบอนินทรีย์ที่แตกตัวได้เมื่อละลายน้ำ ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1 องศาเซลเซียส ค่าการนำไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง 2 % ค่าการนำไฟฟ้า 1,500 ไมโครโมห์ต่อเซนติเมตร
4) สี เป็นตัวบ่งชี้ชนิดของสิ่งมีชีวิตในน้ำ เช่น สีเหลือง/น้ำตาล เป็นกลุ่ม Diatom: Bacillaryophyta สีเขียวแกมน้ำเงิน เป็นกลุ่ม Blue green algae: Cyanophyta สีเขียวเป็นกลุ่ม Chlorophyta สีน้ำตาลแดง เป็นกลุ่ม Dinoflagellate: Pyrophyta ถ้าน้ำเป็นสีน้ำตาลจะให้กำลังผลิตสูง สีเขียวแกมน้ำเงินจะให้ผลผลิตต่ำ
ด้านกายภาพ
1) อุณหภูมิ (Temperature) 25-32 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในตัวปลาต่ำกว่าอุณหภูมิน้ำ 0.5-1 องศาเซลเซียส การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต้องมีการเปลี่ยนแปลงช้าๆ เพราะปลาเป็นสัตว์เลือดเย็น ไม่สามารถรักษาอุณหภูมิให้คงที่เหมือนสัตว์เลือดอุ่น อุณหภูมิมีผลต่อปัจจัยสำคัญของสิ่งมีชีวิต การที่อุณหภูมิสูงอาจทำให้สารพิษ เช่น สารกำจัดศัตรูพืช โลหะหนัก ทวีความรุนแรง และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำลดลง
2) ความขุ่น (Turbidity) น้ำมีสารแขวนลอย ได้แก่ อนุภาคดินทราย แพลงค์ตอน แบคทีเรีย แร่ธาตุ ซึ่งมีผลต่อปริมาณแสงส่องลงไปในน้ำ หน่วยวัดความขุ่น คือ FTU (Formazin turbidity unit) หรือ JTU (Jackson turbidity unit) ค่าความขุ่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาไม่ควรเกิน 50 FTU การวัดความขุ่นใสอาจใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Secchi disc (แผ่นไม้รูปวงกลมเส้นผ่า ศก. 20 ซม. ทาสีขาวสลับดำ ความขุ่นที่เหมาะสม 30-60 ซม.) ความขุ่นของน้ำสามารถควบคุมได้ดังนี้
- กรณีน้ำขุ่นจากตะกอนดิน แก้ไขโดยเติมปุ๋ยอินทรีย์และอนินทรีย์ หรือใช้สารส้ม (Alum) หรืออลูมินั่มซัลเฟต ปริมาณ 25-30 mg/l
- กรณีความขุ่นที่เกิดจากแพลงก์ตอน ใช้การระบายน้ำออกหรือใช้คอปเปอร์ซัลเฟต 0.1-0.5 mg/l
- ถ้าน้ำมีความขุ่นใสมาก แสดงว่าแพลงค์ตอนมีน้อย ต้องเติมปุ๋ยและปูนขาวลงไปในน้ำ หรือเติมน้ำเขียว (Chlorella)
3) การนำไฟฟ้า (Conductivity) ความสามารถของน้ำในการเป็นสื่อนำกระแสไฟฟ้า ขึ้นกับ ความเข้มข้นของอิออนของสารประกอบอนินทรีย์ที่แตกตัวได้เมื่อละลายน้ำ ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1 องศาเซลเซียส ค่าการนำไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง 2 % ค่าการนำไฟฟ้า 1,500 ไมโครโมห์ต่อเซนติเมตร
4) สี เป็นตัวบ่งชี้ชนิดของสิ่งมีชีวิตในน้ำ เช่น สีเหลือง/น้ำตาล เป็นกลุ่ม Diatom: Bacillaryophyta สีเขียวแกมน้ำเงิน เป็นกลุ่ม Blue green algae: Cyanophyta สีเขียวเป็นกลุ่ม Chlorophyta สีน้ำตาลแดง เป็นกลุ่ม Dinoflagellate: Pyrophyta ถ้าน้ำเป็นสีน้ำตาลจะให้กำลังผลิตสูง สีเขียวแกมน้ำเงินจะให้ผลผลิตต่ำ
ด้านเคมี
1) ความเป็นกรดด่าง (pH) เป็นการวัดค่าความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออน ที่มีอยู่ในน้ำ pH น้อยกว่า 7 น้ำเป็นกรด pH มากกว่า 7 น้ำเป็นด่าง ถ้า pH สูง การเกิดพิษของแอมโมเนียจะสูง
2) ความกระด้าง (Hardness) ความเข้มข้นของอิออนของแคลเซียม และแมกนีเซีมที่ละลายในน้ำ เป็นตัวช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลง pH ของน้ำ ค่าที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลา 80-200 mg/l
3) ความเป็นด่าง (Alkalinity) ความเข้มข้นของด่าง ส่วนใหญ่เป็นอิออนของคาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต และไฮดอกไซด์ แหล่งน้ำธรรมชาติมีค่าความเป็นด่าง 25-400 mg/l ค่าที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา 100-120 mg/l
4) คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbondioxide) มีความสามารถในการละลายน้ำได้ดี อยู่ในรูป คาร์บอนไดออกไซด์อิสระ ไบคาร์บอเนต และคาร์บอเนต ช่วยให้ pH ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป
5) ปริมาณออกซิเจน (Dissolved oxygen) ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ใช้ในขบวนการหายใจและการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ปริมาณที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้ง 5 mg/l ปลามีค่ามากกว่า 5 mg/l ปริมาณ DO ไม่ควรต่ำกว่า 3 mg/l หน่วยที่วัด mg/l หรือ ppm =part per million
6)ไฮโดรเจนซัลไฟด์(Hydrogen sulfide) เกิดจากการหมักหมมและการเน่าสลายของอินทรีย์สารก้นบ่อ ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน เรียกว่า ก๊าซไข่เน่า เป็นพิษต่อสัตว์น้ำ ถ้าค่า pH ต่ำ จะทำให้เกิดก๊าซเพิ่มขึ้น ค่าไม่ควรเกิน 0.002 ppm การลดความเป็นพิษโดยการใช้เกลือแกง 300-400 กก./ไร่ หรือปูนขาว 30 กรัม/ตัน
7) ความเค็ม (Salinity) สำหรับน้ำจืด ความเค็มอยู่ระหว่าง 0-0.5 ส่วนในพัน (0-3 psu)
น้ำกร่อย 0.5-30 ส่วนในพัน (15-25 psu) และน้ำเค็ม มากกว่า 30 ส่วนในพันขึ้นไป (25-32 psu)
8) ไนโตรเจน แอมโมเนีย (NH3) ไนไตรท์ ไนเตรท สารประกอบไนโตรเจนในแหล่งน้ำ ระดับความเข้มข้นของแอมโมเนียในบ่อปลาไม่ควรเกิน 0.02 ppm
9) ฟอสฟอรัส (Phosphorus) มีความสำคัญในการเจริญเติบโตของพืชน้ำ อยู่ในรูป ออโธฟอสเฟต สำหรับ Oligotrophic lake ค่าออโธฟอสเฟตน้อยกว่า 0.1 mg/l และ Eutrophic lake มากกว่า 0.1 mg/l ถ้ามีมากกว่า 0.6 mg/l น้ำมีปัญหาด้านมลภาวะ มาตรฐานกำหนดไว้ไม่ควรเกิน 0.3 mg/l
1) ความเป็นกรดด่าง (pH) เป็นการวัดค่าความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออน ที่มีอยู่ในน้ำ pH น้อยกว่า 7 น้ำเป็นกรด pH มากกว่า 7 น้ำเป็นด่าง ถ้า pH สูง การเกิดพิษของแอมโมเนียจะสูง
2) ความกระด้าง (Hardness) ความเข้มข้นของอิออนของแคลเซียม และแมกนีเซีมที่ละลายในน้ำ เป็นตัวช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลง pH ของน้ำ ค่าที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลา 80-200 mg/l
3) ความเป็นด่าง (Alkalinity) ความเข้มข้นของด่าง ส่วนใหญ่เป็นอิออนของคาร์บอเนต ไบคาร์บอเนต และไฮดอกไซด์ แหล่งน้ำธรรมชาติมีค่าความเป็นด่าง 25-400 mg/l ค่าที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา 100-120 mg/l
4) คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbondioxide) มีความสามารถในการละลายน้ำได้ดี อยู่ในรูป คาร์บอนไดออกไซด์อิสระ ไบคาร์บอเนต และคาร์บอเนต ช่วยให้ pH ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป
5) ปริมาณออกซิเจน (Dissolved oxygen) ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ใช้ในขบวนการหายใจและการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ ปริมาณที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้ง 5 mg/l ปลามีค่ามากกว่า 5 mg/l ปริมาณ DO ไม่ควรต่ำกว่า 3 mg/l หน่วยที่วัด mg/l หรือ ppm =part per million
6)ไฮโดรเจนซัลไฟด์(Hydrogen sulfide) เกิดจากการหมักหมมและการเน่าสลายของอินทรีย์สารก้นบ่อ ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน เรียกว่า ก๊าซไข่เน่า เป็นพิษต่อสัตว์น้ำ ถ้าค่า pH ต่ำ จะทำให้เกิดก๊าซเพิ่มขึ้น ค่าไม่ควรเกิน 0.002 ppm การลดความเป็นพิษโดยการใช้เกลือแกง 300-400 กก./ไร่ หรือปูนขาว 30 กรัม/ตัน
7) ความเค็ม (Salinity) สำหรับน้ำจืด ความเค็มอยู่ระหว่าง 0-0.5 ส่วนในพัน (0-3 psu)
น้ำกร่อย 0.5-30 ส่วนในพัน (15-25 psu) และน้ำเค็ม มากกว่า 30 ส่วนในพันขึ้นไป (25-32 psu)
8) ไนโตรเจน แอมโมเนีย (NH3) ไนไตรท์ ไนเตรท สารประกอบไนโตรเจนในแหล่งน้ำ ระดับความเข้มข้นของแอมโมเนียในบ่อปลาไม่ควรเกิน 0.02 ppm
9) ฟอสฟอรัส (Phosphorus) มีความสำคัญในการเจริญเติบโตของพืชน้ำ อยู่ในรูป ออโธฟอสเฟต สำหรับ Oligotrophic lake ค่าออโธฟอสเฟตน้อยกว่า 0.1 mg/l และ Eutrophic lake มากกว่า 0.1 mg/l ถ้ามีมากกว่า 0.6 mg/l น้ำมีปัญหาด้านมลภาวะ มาตรฐานกำหนดไว้ไม่ควรเกิน 0.3 mg/l
โรคและศัตรูสัตว์น้ำ ที่สำคัญ ได้แก่
• โรคที่เกิดจากฺแบคทีเรีย Bacteria เช่น โรคท้องบวม•โรคที่เกิดจากพยาธิ เช่น ปลิงใส เห็บ โรคจุดขาว
• โรคที่เกิดจากตัวเบียฬภายนอก เช่น เห็บปลา เหาปลา
• ศัตรูปลา เช่น งู กบ นก
• โรคที่เกิดจากฺแบคทีเรีย Bacteria เช่น โรคท้องบวม•โรคที่เกิดจากพยาธิ เช่น ปลิงใส เห็บ โรคจุดขาว
• โรคที่เกิดจากตัวเบียฬภายนอก เช่น เห็บปลา เหาปลา
• ศัตรูปลา เช่น งู กบ นก
การเก็บเกี่ยวผลผลิต
วิธีการจับปลา มีหลายวิธี เช่น การจับปลาโดยใช้อวนล้อมจับ การใช้สวิงตักปลากรณีนี้สำหรับการเลี้ยงปลากระชังโดยส่วนใหญ่ และการสูบน้ำออกจากบ่อเพื่อจับสัตว์น้ำ การจับปลาบางครั้งมีปัญหาด้านกลิ่นสาป เนื่องจากมีสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue green algae) ได้แก่ Oscillatoria, Mycrocystis ผลิตสารเคมี Geosmin การป้องกันกลิ่นสาปปลาสามารถทำได้ดังนี้
• นำปลามากักขังในน้ำสะอาดก่อนการจับขาย
• งดใส่ปุ๋ยพืชสด งดให้อาหารสดและกลิ่นคาว
• จำหน่ายในรูปแบบการแปรรูป
วิธีการจับปลา มีหลายวิธี เช่น การจับปลาโดยใช้อวนล้อมจับ การใช้สวิงตักปลากรณีนี้สำหรับการเลี้ยงปลากระชังโดยส่วนใหญ่ และการสูบน้ำออกจากบ่อเพื่อจับสัตว์น้ำ การจับปลาบางครั้งมีปัญหาด้านกลิ่นสาป เนื่องจากมีสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Blue green algae) ได้แก่ Oscillatoria, Mycrocystis ผลิตสารเคมี Geosmin การป้องกันกลิ่นสาปปลาสามารถทำได้ดังนี้
• นำปลามากักขังในน้ำสะอาดก่อนการจับขาย
• งดใส่ปุ๋ยพืชสด งดให้อาหารสดและกลิ่นคาว
• จำหน่ายในรูปแบบการแปรรูป
สำหรับการขนส่งปลามี 2 ประเภท คือ
การขนส่งปลามีชีวิต (ระบบเปิด และระบบปิด) และการขนส่งปลาไม่มีชีวิต
ปัจจัยที่มีผลต่อการขนส่งปลา ประกอบด้วย ชนิดของปลา อายุและขนาดปลา
ช่วงเวลาการขนส่ง อุณหภูมิน้ำ ช่วงการมีไข่ของปลา ระยะเวลาการขนส่ง ภาชนะใส่ปลา
5.4 การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
สัตว์น้ำแต่ละชนิดมีอุปนิสัยทางธรรมชาติที่แตกต่างกันในด้านการเตรียมพื้นที่ เพื่อการวางไข่หรือผสมพันธ์ รูปแบบที่พบ เช่น สร้างแอ่งวางไข่ สร้างหลุมวางไข่ สร้างรังวางไข่ สร้างหวอดรังไข่ การสร้างที่วางไข่ระหว่างพันธุ์ไม้น้ำ การใช้พันธุ์ไม้น้ำเป็นที่วางไข่ และการใช้วัตถุในน้ำเป็นที่วางไข่
สัตว์น้ำแต่ละชนิดมีอุปนิสัยทางธรรมชาติที่แตกต่างกันในด้านการเตรียมพื้นที่ เพื่อการวางไข่หรือผสมพันธ์ รูปแบบที่พบ เช่น สร้างแอ่งวางไข่ สร้างหลุมวางไข่ สร้างรังวางไข่ สร้างหวอดรังไข่ การสร้างที่วางไข่ระหว่างพันธุ์ไม้น้ำ การใช้พันธุ์ไม้น้ำเป็นที่วางไข่ และการใช้วัตถุในน้ำเป็นที่วางไข่
วิธีการเพาะพันธุ์
วิธีการเพาะพันธุ์ มีดังนี้
• การเพาะพันธุ์แบบธรรมชาติ (Natural method)
• การเพาะพันธุ์แบบควบคุมธรรมชาติ (Controlled method)
• การเพาะพันธุ์แบบเทียม (Artificial method) มี 3 แบบ คือ
- การผสมแบบเปียก (Wet method)
- การผสมแบบแห้ง (Dry method)
- การผสมแบบแห้งดัดแปลง (Modified dry method)
• การเพาะพันธุ์โดยกรรมวิธีฉีดฮอร์โมน (Induced breeding by hormone injection)
วิธีการเพาะพันธุ์ มีดังนี้
• การเพาะพันธุ์แบบธรรมชาติ (Natural method)
• การเพาะพันธุ์แบบควบคุมธรรมชาติ (Controlled method)
• การเพาะพันธุ์แบบเทียม (Artificial method) มี 3 แบบ คือ
- การผสมแบบเปียก (Wet method)
- การผสมแบบแห้ง (Dry method)
- การผสมแบบแห้งดัดแปลง (Modified dry method)
• การเพาะพันธุ์โดยกรรมวิธีฉีดฮอร์โมน (Induced breeding by hormone injection)
การฟักไข่ของสัตว์น้ำ คือ
การดูแลรักษาไข่ที่ปฏิสนธิแล้วให้มีการเจริญเติบโตตามขั้นตอนของคัพภะจนเป็นสัตว์วัยอ่อน
(Larvae) ประเภทของไข่สามารถจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ
• ไข่ประเภทลอยน้ำ (Buoyant egg)
• ไข่ประเภทครึ่งจมครึ่งลอย (Semi- buoyant egg)
• ไข่ประเภทจมน้ำ (Demersal egg): แบ่งย่อยได้เป็น ไข่จมไม่ติดวัตถุ (Non-adhesive egg) และไข่จมติดวัตถุ (Adhesive egg)
• ไข่ประเภทลอยน้ำ (Buoyant egg)
• ไข่ประเภทครึ่งจมครึ่งลอย (Semi- buoyant egg)
• ไข่ประเภทจมน้ำ (Demersal egg): แบ่งย่อยได้เป็น ไข่จมไม่ติดวัตถุ (Non-adhesive egg) และไข่จมติดวัตถุ (Adhesive egg)
ปัจจัยที่มีผลต่อการอนุบาลสัตว์น้ำ ประกอบด้วย
1. ที่กักขัง
2. ระบบน้ำ
3. อาหาร
4. การป้องกันกำจัดศัตรู
5. จำนวนประชากร
1. ที่กักขัง
2. ระบบน้ำ
3. อาหาร
4. การป้องกันกำจัดศัตรู
5. จำนวนประชากร
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ
1. ปัจจัยที่เกิดจากการจัดการ
1.1 อัตราปล่อยลงเลี้ยง
1.2 ขนาดของสัตว์น้ำที่ปล่อยลงเลี้ยง
1.3 พันธุ์สัตว์น้ำที่ปล่อยลงเลี้ยง
2. ปัจจัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อม: ด้านกายภาพ และด้านเคมี
3. ปัจจัยที่เกิดจากความสมบูรณ์ของบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ: ปริมาณแร่ธาตุ (Nutrient) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
4. ปัจจัยที่เกิดจากตัวปลาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของปลา แตกต่างไปตามชนิดของปลาได้แก่ เพศ อายุ พันธุกรรม
5. ปัจจัยที่เกิดจากอาหาร
6. ปัจจัยที่เกิดจากโรคปลาและศัตรูปลา
1. ปัจจัยที่เกิดจากการจัดการ
1.1 อัตราปล่อยลงเลี้ยง
1.2 ขนาดของสัตว์น้ำที่ปล่อยลงเลี้ยง
1.3 พันธุ์สัตว์น้ำที่ปล่อยลงเลี้ยง
2. ปัจจัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อม: ด้านกายภาพ และด้านเคมี
3. ปัจจัยที่เกิดจากความสมบูรณ์ของบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ: ปริมาณแร่ธาตุ (Nutrient) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
4. ปัจจัยที่เกิดจากตัวปลาที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของปลา แตกต่างไปตามชนิดของปลาได้แก่ เพศ อายุ พันธุกรรม
5. ปัจจัยที่เกิดจากอาหาร
6. ปัจจัยที่เกิดจากโรคปลาและศัตรูปลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น